หน่วยงาน

วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

Child care of Early Childhood with Special Need )
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
วันที่ 22/09/57 กลุ่ม 102

ความรู้ที่ได้รับ





การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ที่เรียนวันไปวันนี้ไปใช้ในอนาคตได้ ซึ่งเราควรที่จะมีความรู้เบื้องต้นไว้ จะได้ใช้ได้ถูก ซึ่งจำเป็นอย่างมากสำหรับเด็กพิเศษ
การประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีบางเวลาที่แอบคุยกับเพื่อนข้างๆ แต่ก็ค่อยจดบันทึกลงสมุดทุกครั้ง
การประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีคุยเปงบางเวลา แต่ในภาพรวมแล้ว นักศึกษาตั้งใจเรียน
การประเมินผู้สอน
อาจารย์เข้าตรงต่อเวลา สอนเนื้อหาได้เข้าใจ มีการยกตัวอย่างให้ฟัง ทำให้นักศึกษานึกภาพตามได้เรียนกับอาจารไม่กดดัน สนุกเรียนแร้วมีความสุข





บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

Child care of Early Childhood with Special Need )
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
วันที่ 15/09/57 กลุ่ม 102

ความรู้ที่ได้รับ



การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ที่เรียนวันไปวันนี้ไปใช้ในอนาคตได้ ซึ่งเราควรที่จะมีความรู้เบื้องต้นไว้ จะได้ใช้ได้ถูก ซึ่งจำเป็นอย่างมากสำหรับเด็กพิเศษ
การประเมินตนเองเข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีบางเวลาที่แอบคุยกับเพื่อนข้างๆ
การประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีคุยเปงบางเวลา แต่ในภาพรวมแล้ว นักศึกษาตั้งใจเรียน
การประเมินผู้สอน
อาจารย์เข้าตรงต่อเวลา สอนเนื้อหาได้เข้าใจ มีการยกตัวอย่างให้ฟัง ทำให้นักศึกษานึกภาพตามได้



บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

Child care of Early Childhood with Special Need )
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
(วันที่ 08/09/57 กลุ่ม 102

ความรู้ที่ได้รับ

เรียนในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองาน


เกี่ยวกับเด็กพิเศษตามหัวข้อต่างๆ  ดังนี้

1.) เด็กออทิสติก เป็นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า

2.) เด็กดาวน์ซินโดรม เกิดจากพันธุกรรม โครโมโวมคู่ที่ 21 มีขาเพิ่ม 1 ขา

3.) เด็กปัญญาเลิศ เป็นเด็กที่มีพัฒนาการเจริญเติบโตเร็วกว่าเด็กวัยเดียวกัน

4.) เด็กซี พี (โรคสมองพิการ) สาเหตุไม่แน่ชัด เป็นโรคที่สมองพิการถาวร

แต่จะเป็นเด็กที่มีไอคิวเท่ากับผู้อื่น แต่จะอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อาจมีลมชัก

5.) เด็กสมาธิสั้น ผิดปกติของการเจริญเติบโตของระบบประสาท แบ่งเป็น 3

กลุ่มกลุ่มเฉื่อยชา กลุ่มอยู่นิ่งไม่ได้ และกลุ่มที่มีอาการทั้งสองอย่าง

6.) โรคบกพร่องทางการเรียนรู้ แอล ดี เกิดจากกรรมพันธุ์ หรือมีความผิดปกติ

ทางสมองจะมีความผิดปกติด้านการอ่านการสะกดคำ


ภาพเพื่อนนำเสนองาน







บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3

Child care of Early Childhood with Special Need )
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
(วันที่ 01/09/57 กลุ่ม 102

ความรู้ที่ได้รับ


การนำไปประยุกต์ใช้ 
 สามารถนำความรู้ที่เรียนวันไปสันนี้ไปใช้ในอนาคตได้  ซึ่งเราควรที่จะมีความรู้เบื้องต้นไว้ จะได้ใช้ได้ถูก  ซึ่งจำเป็นอย่างมากสำหรับเด็กพิเศษ  จะได้นำความรู้ที่เรียนมาไปสอนเด็กพิเศษโดยตรง
การประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย  ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีบางเวลาที่แอบคุยกับเพื่อนข้างๆ
การประเมินเพื่อน 
ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีคุยเปงบางเวลา  
การประเมินผู้สอน 
อาจารย์เข้าตรงต่อเวลา สอนเนื้อหาได้เข้าใจ มีการยกตัวอย่างให้ฟัง


     



บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
( Child care of Early Childhood with Special Need )
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วันที่ 25/08/57 กลุ่ม 102


ความรู้ที่ได้รับ


การนำไปประยุกต์
 สามารถนำความรู้ที่เรียนวันนี้ไปใช้ในอนาคตได้  การเป็นครูต้องมีความรู้รอบด้านเช่นเดียวกับเด็กพิเศษในอนาคตอาจจะได้เจอเด็กเหล่านี้ เราจะได้รู้ว่าเรื่องใดที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของเด็กพิเศษได้ 
การประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงต่อเวลา  แต่งกายเรียนร้อย ตั้งใจเรียน  แต่มีบางเวลาที่แอบคุย และไม่สนใจเนื้อหา
การประเมินเพื่อน
 เพื่อนในห้องตั้งใจเรียน  แต่งกายถูกระเบียนทุกคน  มีบางเวลาที่เพื่อนแอบคุยกัน มีการโต้ตอบการตอบคำถามที่อาจารย์ถาม
การประเมินผู้สอน
 อาจารเป็นคนตรงต่อเวลา  สอนเนื้อได้เข้าใจ มีภาพประกอบอยู่เสมอ มีการยกตัวอย่างให้ฟัง เรียนกับอาจารทำให้ไม่กดดัน 



บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
( Child care of Early Childhood with Special Need )
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วันที่   18/08/57     กลุ่ม 102 


 เปิดเรียนวันแรกอาจารย์ได้บอกแนวการสอน และได้อธิบายเกี่ยวกับเด็กพิเศษว่ามีลักษณะแบบใดและอาจารให้ทำงานกลุ่มเรื่องเด็กพิเศษ ในความคิดของนักศึกษา
การทำงานเป็นกลุ่ม